กรุสำหรับ กันยายน, 2011

<iframe src=”https://docs.google.com/spreadsheet/embeddedform?formkey=dDJCQVlJU0lKaFhjdUxPeU9YRS1oV1E6MQ” width=”760″ height=”1182″ frameborder=”0″ marginheight=”0″ marginwidth=”0″>กำลังโหลด…</iframe>

♥ลำดับเรขาคณิต

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

 

1.1  การแยกตัวประกอบโดยใช้สมบัติการแจกแจง

         ถ้า  a , b  และ  c  แทนจำนวนเต็มใด ๆ แล้ว

               a(b + c)  =  ab + ac      หรือ        (b + c)a  =  ba + ca

         เราอาจเขียนสมบัติการแจกแจงข้างต้นใหม่เป็นดังนี้

               ab + ac  =  a(b + c)      หรือ       ba + ca  =  (b + c)a

         ถ้า  a , b  และ  c  เป็นพหุนาม  เราก็สามารถใช้สมบัติการแจกแจงข้างต้นได้ด้วย และเรียก  a  ว่า

ตัวประกอบร่วมของ ab และ ac  หรือตัวประกอบร่วมของ  ba และ ca

         พิจารณาวิธีการแยกตัวประกอบของ  15x2y – 18xy โดยใช้สมบัติการแจกแจงดังนี้

               15x2y – 18xy2  =  3(5x2y – 6xy2)      [3 เป็น ห.ร.ม. ของ 15 และ 18] 
                                        =  3
x(5xy – 6y2)       [x เป็นตัวประกอบร่วมของ 5x2y และ 6xy2]

                                        =  3xy(5x – 6y)           [y เป็นตัวประกอบร่วมของ5xy  และ 6y2]

               ดังนั้น   5x2y – 18xy2   =  3xy(5x – 6y)

Posted: 24/09/2011 in Uncategorized

Hello world!

Posted: 24/09/2011 in Uncategorized

             สวัสดีนักเรียน